ตารางธาตุ
หมู่ 1
Li – Lithium ลิเทียม
Na – Sodium โซเดียม
K – Potassium โพแทสเซียม
Rb – Rubidium รูบิเดียม
Cs – Caesium ซีเซียม
Fr – Francium แฟรนเซียม
หมู่ 2
Be – Beryllium เบริลเลียม
Mg – Magnesium แมกนีเซียม
Ca – Calcium แคลเซียม
Sr – Strontium สตรอนเชียม
Ba – Barium แบเรียม
Ra – Radium เรเดียม
หมู่ 3
B – Boron โบรอน
AI – aluminum อะลูมิเนียม
Ga – Gallium แกลเลียม
In – Indium อินเดียม
Tl – Thallium แทลเลียม
หมู่ 4
C – Carbon คาร์บอน
Si – Silicon ซิลิคอน
Ge – Germanium เจอร์เมเนียม
Sn – Tin ทิน (ดีบุก)
Pb – Lead เลด (ตะกั่ว)
หมู่ 5
N – Nitrogen ไนโตรเจน
P – phosphorus ฟอสฟอรัส
As – arsenic อาร์เซนิก (สารหนู)
Sb – Antimony แอมทิมอนี (พลวง)
Bi – Bismuth บิสมัท
หมู่ 6
O – Oxygen ออกซิเจน
S – Sulfur หรือ Sulphur ซัลเฟอร์ (กำมะถัน)
Se – Selenium ซีลีเนียม
Te – Tellurium เทลลูเรียม
Po – Polonium พอโลเนียม
หมู่ 7
F – fluorine ฟลูออรีน
CI – Chlorine คลอรีน
Br – bromine โบรมีน
I – Iodine ไอโอดีน
At – Astatine แอสทาทีน
หมู่ 8
He – Helium ฮีเลียม
Ne – neon นีออน
Ar – Argon อาร์กอน
Kr – Krypton คริปทอน
Xe – Xenon ซีนอน
Rn – radon เรดอน
กลุ่มธาตุ Transition ที่ออกสอบบ่อย
Sc – Scandium สแกนเดียม
Ti – Titanium ไทเทเนียม
V – Vanadium วาเนเดียม
Cr – Chromium โครเมียม
Mn – Manganese แมงกานีส
Fe – Iron ออกเสียงว่า ไอเอิร์น (เหล็ก)
Co – Cobalt โคบอลต์
Ni – Nickel นิกเกิล
Cu – Copper คอปเปอร์ (ทองแดง)
Zn – Zinc ซิงค์ (สังกะสี)
คำศัพท์ทางเคมี
ธาตุ คือ สารบริสุทธิ์ที่มีองค์ประกอบเดียวที่จำแนกโดยเลขอะตอม (หรือ สารบริสุทธิ์ที่พบบนตารางธาตุ) เช่น Na , O
ธาตุอิสระ คือ ธาตุที่พบในธรรมชาติ เช่น H2 , O2
สารประกอบ คือ สารบริสุทธิ์ที่ประกอบไปด้วยธาตุตั้งแต่ 2 ชนิดขึ้นไป เช่น H2O , NaCl
อะตอม คือ หน่วยที่เล็กที่สุดของธาตุ
โมเลกุล คือ หน่วยที่เล็กที่สุดของสารประกอบและธาตุอิสระที่มีตัวห้อย
ไอออน คือ อะตอม หรือ โมเลกุล ที่มีประจุบวกลบ
อนุภาค คือ การเรียกรวมๆ เจออะไรไม่ว่าจะเป็น อะตอม , โมเลกุล หรือ ไอออน เรียกอนุภาคก็ได้
ชนิดของสารประกอบ
สารประกอบเกิดจากธาตุ ตั้งแต่ 2 ชนิดขึ้นไป มี โลหะ + อโลหะ และ อโลหะ + อโลหะ
ส่วน โลหะ + โลหะ นั้น พอเอามารวมกันสัดส่วนมันไม่ได้คงที่มันผสมกันได้ตลอด ฉะนั้น โลหะ + โลหะ เลยไม่นับเป็นสารประกอบ จึงนับว่าเป็น ของผสมเนื้อเดียว
สารประกอบมี 2 ประเภท แบบตามชนิดของธาตุ ได้แก่
1.) สารประกอบโคเวเลนต์ (อโลหะ + อโลหะ) เช่น H2O , CO2 , HCl
2.) สารประกอบไอออนิก (โลหะ + อโลหะ) เช่น NaCl , CaO
การอ่านชื่อสารประกอบโคเวเลนต์
ตัวเลข | อ่านว่า |
1 | โมโน (mono) |
2 | ได (di) |
3 | ไตร (tri) |
4 | เททระ (tetra) |
5 | เพนตะ (penta) |
6 | เฮกซะ (hexa) |
7 | เฮปตะ (hepta) |
8 | ออกตะ (octa) |
9 | โนนะ (nona) |
10 | เดคะ (deca) |
อ่านชื่อสารประกอบต่อไปนี้
PCl3 ฟอสฟอรัสไตรคลอไรด์
PCl5 ฟอสฟอรัสเพนตะคลอไรด์
N2O5 ไดไนโตรเจนเพนตะออกไซด์
CCl4 คาร์บอนเททระคลอไรด์
SF6 ซัลเฟอร์เฮกซะฟลูออไรด์
SO 2 ซัลเฟอร์ไดออกไซด์
SO 3 ซัลเฟอร์ไตรออกไซด์
CO 2 คาร์บอนไดออกไซด์
CO คาร์บอนมอนอกไซด์
NO ไนโตรเจนมอนอกไซด์
*เคล็ดลับ 1.) คำท้ายออกเสียงเป็น อาย(ide) 2.) เลขอ่านหน้าชื่อธาตุ
ลองทำแบบย้อนกลับ เขียนสูตรของสารประกอบโคเวเลนต์
ไนโตรเจนไตรคลอไรด์ = NCl3
ไดไฮโดรเจนซัลไฟด์ = H2S
คาร์บอนไดซัลไฟด์ = CS2
ไนโตรเจนไตรไฮไดรด์ = NH3
ซัลเฟอร์ไดไอโอไดด์ = SI2
คลอรีนไตรฟลูออไรด์ = ClF3
ซัลเฟอร์เฮกซะฟลูออไรด์ = SF6
โบรอนไตรคลอไรด์ = BCl3
การอ่านและเขียนชื่อสารประกอบไอออนิก
สารประกอบไอออนิก เกิดจากธาตุที่เป็น โลหะ + อโลหะ ตัวอย่างเช่น NaCl , CaF2 , CaCO3
ข้อดีของการอ่านสารประกอบไอออนิก คือ ไม่ต้องอ่านตัวห้อย แต่จะยากตรงที่เราต้องเขียนตัวห้อยให้ถูกต้อง เราจะต้องหาตัวห้อยเอง
1. สารประกอบที่เกิดจากธาตุหมู่ IA , IIA , IIIA รวมกับอะตอมของธาตุอโลหะ
• ให้กำหนดประจุของธาตุตามหมู่ ดังนี้
หมู่ 1 | หมู่ 2 | หมู่ 3 | หมู่ 4 | หมู่ 5 | หมู่ 6 | หมู่ 7 | หมู่ 8 |
+ 1 | + 2 | + 3 | – 4 | – 3 | – 2 | – 1 | เสถียร |
• ให้คำลงท้ายชื่อธาตุอโลหะเป็นเสียง “ไอด์” (ide)
• เขียนสูตรสารประกอบได้จากการคูณไขว้เลขออกซิเดชัน
ลองเขียนชื่อของสารประกอบไอออนิก
NaCl = โซเดียมคลอไรด์
LiBr = ลิเทียมโบรไมด์
MgF2 = แมกนีเซียมฟลูออไรด์
CaO = แคลเซียมออกไซด์
K2S = โพแทสเซียมซัลไฟด์
BaS = แบเรียมซัลไฟด์
Al2O3 = อลูมิเนียมออกไซด์
Li3N = ลิเทียมไนไตรด์
ลองเขียนสูตรของสารประกอบไอออนิก จากธาตุที่กำหนด
Na, O เขียนได้เป็น Na+1 O-2 = Na2O
Na, S เขียนได้เป็น Na+1 S-2 = Na2S
Al, O เขียนได้เป็น Al+3 O-2 = Al2O3
Ca, F เขียนได้เป็น Ca+2 F-1 = CaF2
Al, Cl เขียนได้เป็น Al+3 Cl-1 = AlCl3
Mg, S เขียนได้เป็น Mg+2 S-2 = MgS
K, I เขียนได้เป็น K+1 I-1 = KI
Li, N เขียนได้เป็น Li+1 N-3 = Li3N
Ca, S เขียนได้เป็น Ca+2 S-2 = CaS
2. สารประกอบที่เกิดจากธาตุหมู่ IA , IIA , IIIA รวมตัวกับอนุมูลกลุ่ม
หลักการ
• ให้อ่านชื่อโลหะ แล้วตามด้วยชื่ออนุมูลกลุ่ม
• เขียนสูตรของสารประกอบได้จากการคูณไขว้เลขออกซิเดชันของโลหะและอนุมูลกลุ่ม
ไอออน | ชื่อเรียก | ประจุ |
NO3– | ไนเตรต ไอออน | -1 |
ClO3– | คลอเรต ไอออน | -1 |
ClO4– | เปอร์คลอเรต ไอออน | -1 |
CO32- | คาร์บอเนต ไอออน | -2 |
HCO3– | ไฮโดรเจน คาร์บอเนตไอออน | -1 |
SO42- | ซัลเฟต ไอออน | -2 |
HSO4– | ไฮโดรเจน ซัลเฟต ไอออน | -1 |
S2O32- | ไทโอ ซัลเฟต ไอออน | -2 |
PO43- | ฟอตเฟต ไอออน | -3 |
HPO42- | ไฮโดรเจน ฟอตเฟต ไอออน | -2 |
H2PO4– | ไดไฮโดนเจน ฟอตเฟต | -1 |
อนุมูลกลุ่มที่ควรรู้จัก
ไอออน | ชื่อเรียก | ประจุ |
CrO42- | โครเมต ไอออน | -2 |
Cr2O72- | ไดโครเมต ไอออน | -2 |
MnO42- | แมงกาเนต ไอออน | -2 |
MnO4– | เปอร์แมงกาเนต ไอออน | -1 |
CN– | ไซยาไนด์ ไอออน | -1 |
SCN– | ไทโอไซยาเนต ไอออน | -1 |
OH– | ไฮดรอกไซด์ ไอออน | -1 |
สรุป อนุมูลกลุ่มที่ควรรู้จัก
NO3– ClO3– CO32- SO42- PO43- HCO3– HSO4– HPO42- H2PO4– | |
กลุ่มที่มีประจุ -1 | ClO– ClO2– ClO3– ClO4– NO3– CN– OH– HSO4– HCO3– H2PO4– MnO4– |
กลุ่มที่มีประจุ -2 | SO42- CO32- HPO42- MnO42- CrO42- Cr2O72- S2O32- |
กลุ่มที่มีประจุ -3 | PO43- |
เขียนชื่อสารประกอบไอออนิก
Na2CO3 = โซเดียมคาร์บอเนต
LiCN = ลิเทียมไซยาไนด์
MgSO4 = แมกนีเซียมซัลเฟต
NaHCO3 = โซเดียมไฮโดรเจนคาร์บอเนต
Al2(SO4)3 = อลูมิเนียมซัลเฟต
AlPO4 = อลูมิเนียมฟอสเฟต
KMnO4 = โพแทสเซียมเปอร์แมงกาเนต
CaCO3 = แคลเซียมคาร์บอเนต
BaCrO4 = แบเรียมโครเมต
KNO3 = โพแทสเซียมไนเตรต
แก้ไขสูตรของสารประกอบไอออนิก
Li, SO4 แก้ไขเป็น Li+1 SO42- = Li2SO4
Na, PO4 แก้ไขเป็น Na+1 PO43- = Na3PO4
Al, CO3 แก้ไขเป็น Al+3 CO32- = Al2 (CO3)3
Mg, CO3 แก้ไขเป็น Mg+2 CO32- = MgCO3
Ca, HPO4 แก้ไขเป็น Ca+2 HPO42- = CaHPO4
KPO4 แก้ไขเป็น K+1 PO43- = K3PO4
LiCN แก้ไขเป็น Li+1 CN– = LiCN
CaOH แก้ไขเป็น Ca+2 OH– = Ca(OH)2
AlHPO4 แก้ไขเป็น Al+3 HPO42- = Al2 (HPO4)3
AlNO3 แก้ไขเป็น Al+3 NO3– = Al(NO3)3
NaSO4 แก้ไขเป็น Na+1 SO42- = Na2SO4
เขียนสูตรของสารประกอบไอออนิก จากชื่อที่กำหนด
โซเดียมคาร์บอเนต Na+1 CO32- = Na2CO3
อะลูมิเนียมซัลเฟต Al+3 SO42- = Al2 (SO4)3
แบเรียมคลอเรต Ba+2 ClO3– = Ba(ClO3)2
ลิเทียมไฮโดรเจนฟอสเฟต Li+1 HPO42- = Li2HPO4
โพแทสเซียมไนเตรต K+1 NO3– = KNO3
แคลเซียมฟอตเฟต Ca+2 PO43- = Ca3(PO4)2
แมกนีเซียมไฮโดรเจนคาร์บอเนต Mg+2 HPO42- = MgHPO4
แบเรียมไฮดรอกไซด์ Ba+2 OH– = Ba(OH)2
3. สารประกอบที่เกิดจากโลหะแทรนซิซัน และโลหะที่ไม่ใช่หมู่ IA , IIA , IIIA รวมกับอนุมูลเดี่ยว และอนุมูลกลุ่ม
หลักการ
• ธาตุเหล่านี้มีเลขออกซิเดชันหลายค่า จึงต้องระบุเลขโรมันเพื่อแทนเลขออกซิเดชันของธาตุนั้นๆ
• เขียนสูตรสารประกอบได้จากการคูณไขว้เลขออกซิเดชัน
เขียนสูตรของสารประกอบไอออนิก จากชื่อที่กำหนดให้
คอปเปอร์ (II) ซัลเฟต Cu+2 SO43- → CuSO4
ไอร์ออน (III) คลอไรด์ Fe+3 Cl-1 → FeCl3
ไอร์ออน (II) ไนเตรต Fe+2 NO3– → Fe(NO3)2
นิกเกิล (III) ออกไซด์ Ni+3 O-2 → Ni2O3
แมงกานีส (IV) ออกไซด์ Mn+4 O-2 → MnO2
สารประกอบไอออนิกที่ละลายนํ้า
1. สารประกอบที่เกิดจากหมู่ IA ทุกชนิด
หมู่ I ทุกชนิดละลายนํ้าได้ เช่น NaCl , Li2CO3 , RbHCO3
2. สารประกอบของแอมโมเนียมไอออนทุกชนิด
NH4+ ตัวอย่างเช่น NH4Cl , NH4NO3 , (NH4)3PO4 ,
3. สารประกอบของไนเตรดไอออนทุกชนิด
NO3– ตัวอย่างเช่น Ba(NO3)2 , Al(NO3)3 , Rb(NO3)2 ,
4. สารประกอบของคลอเรตไอออนทุกชนิด
ClO3– ตัวอย่างเช่น LiClO3 , Mg(ClO3)2 , Al(ClO3)3 ,
5. สารประกอบของเปอร์คลอเรตไอออน
ClO4– ตัวอย่างเช่น Cu(ClO4)2 , NaClO4 ,
6. สารประกอบของแอซิเตตไอออน (ยกเว้น CH3COOAg)
CH3COO– ตัวอย่างเช่น CH3COONa , (CH3COO)2 Ca ,
สารประกอบไอออนิกที่ไม่ละลายนํ้า
1. สารประกอบที่เกิดจากไอออนหมู่ IIA กับ CO32- , PO43- , SO42- ,
ยกเว้น MgSO4 , เช่น BaSO4 , CaCO3 , Mg3(PO4)2 ,
2. สารประกอบที่เกิดจากไอออนหมู่ VIIA
กับ Ag+ , Hg2+ , Pb2+ เช่น AgCl , Pbl2 ,
3.สารประกอบที่เกิดจากโลหะทุกชนิดกับไอออน S2- , OH– , O2- ,
ยกเว้นไอออนหมู่ IA และ IIA บางชนิด
คือ Ca2+ , Sr2+ , Ba2+ เช่น Al2S3 , ZnS , Cu(OH)2 ,
การละลายนํ้าของสารประกอบโคเวเลนต์
ใช้หลักการ Like Dissolve Like
มีขั้ว ละลายใน มีขั้ว
ไม่มีขั้ว ละลายใน ไม่มีขั้ว
สารละลายกรด – เบส
กรด(acid) ← กลาง → เบส(base)
<——————————————pH=7——————————————>
กรดแก่ มี
กรดไฮโดร เช่น HCl , HI
กรดออกซี เช่น H2SO4 , HNO3 , HClO3 , HClO4 ,
กรดอ่อน อะไรที่ลงท้ายด้วย COOH คือกรดอ่อนทันที
เช่น HF , HClO2 , H2SO3 , CH3COOH , C2H5COOH ,
เบสแก่ คือ โลหะหมู่ I , หมู่ II + OH–
ตัวอย่างเช่น LiOH , NaOH , Ca(OH)2 , Sr(OH)2 ,
ธาตุอิสระที่พบมากในสมการ
1 โมเลกุล มี 1 อะตอม เช่น He , Ne , Ar , Kr , Xe , Rn
1 โมเลกุล มี 2 อะตอม เช่น H2 , F2 , N2 , I2 , Cl2 , O2 ,
1 โมเลกุล มี 4 อะตอม เช่น P4 ,
1 โมเลกุล มี 8 อะตอม เช่น S8 ,
สารบางชนิดอาจอยู่ในรูปอะตอม เช่น Fe , Cr , Cu , Na , Ca เป็นต้น
สมการเคมี
• สมการการรวมตัวอย่างง่าย
• สมการการสลับไอออน
• สมการการแทนที่อย่างง่าย
• สมการการสลายตัวอย่างง่าย
• สมการการสันดาปในสารประกอบไอโดรคาร์บอน
สมการการรวมตัวอย่างง่าย
A: คาร์บอน + ออกซิเจน
= C + O2 → CO2
B: ไฮโดนเจน + ออกซิเจน
= H2 + O2 → H2O
C: ไฮโดรเจน + คลอรีน
= H2 + Cl2 → HCl
D: ไนโตรเจน + ออกซิเจน
= N2 + O2 → N2O5
E: เงิน + ผงกำมะถัน
= Ag + S8 → Ag2S
F: ไอร์ออน + คลอรีน
= Fe + Cl2 → FeCl3
= 1Fe + Cl2 → 1FeCl3
= 2Fe + 3Cl2 → 2FeCl3
สมการการสลับไอออน
A: แบเรียมคลอไรด์ + กรดไนตริก
= BaCl2 + HNO3 →
= 1Ba+Cl–2 + 2H+NO–3 → 1Ba(NO3)2 + 2HCl
= Ba+Cl–2 + H+NO–3 → Ba(NO3)2 + HCl
B: ซิลเวอร์ไนเตรด + กรดไฮโดรคลอริก
= AgNO3 + HCl →
= 1Ag+NO–3 + 1H+Cl– → 1AgCl + 1HNO3
= Ag+NO–3 + H+Cl– → AgCl + HNO3
C: กรดไฮโดรคลอริก + โซเดียมไฮดรอกไซด์
= HCl + NaOH →
= H+Cl– + Na+OH– → NaCl + H2O
D: ซิลเวอร์ไนเตรด + แคลเซียมคลอไรด์
= AgNO3 + CaCl2 →
= 2Ag+NO–3 + 1Ca2+Cl–2 → 2AgCl + 1Ca(NO3)2
= Ag+NO–3 + Ca2+Cl–2 → AgCl + Ca(NO3)2
E: โซเดียมคาร์บอเนต + กรดไฮโดรคลอริก
= Na2CO3 + HCl →
= 1Na+2CO-23 + 2H+Cl– → 2NaCl + H2CO3 =→ 1CO2 + 1H2O
= Na+2CO-23 + H+Cl– → NaCl + H2CO3 =แตกตัวเป็น→ CO2 + H2O
F: แคลเซียมคาร์บอเนต + กรดเกลือ
= CaCO3 + HCl →
= 1CaCO3 + 2HCl → 1CaCl2 + H2CO3 =แตกตัวเป็น→ 1CO2 + 1H2O
= CaCO3 + HCl → CaCl2 + H2CO3 =แตกตัวเป็น→ CO2 + H2O
G: เลต (II) ไนเตรด + โพแทสเซียมไอโอไดด์
= Pb(NO3)2 + KI →
= 1Pb(NO3)2 + 2KI → 1PbI2 + 2KNO3 →
= Pb(NO3)2 + KI → PbI2 + KNO3 →
สมการแทนที่อย่างง่าย
เป็นลักษณะที่ธาตุอิสระเข้าไปแทนที่ในสารประกอบ
A. อะลูมิเนียม + กรดซัลฟิวริก
= Al + H2SO4 →
= Al + H+2SO-24 → Al2(SO4)3 + H2
= 2Al + 3H+2SO-24 → 1Al2(SO4)3 + 3H2
B. สังกะสี + กรดซัลฟิวริก
= Zn + H2SO4 →
= Zn + H+2SO-24 → Zn+2SO2-4 + H2
= Zn + H+2SO-24 → Zn+2SO2-4 + H2
C. อะลูมิเนียม + ซิงค์ (II) ไนเตรด
= Al + Zn(NO3)2 →
= Al + Zn(NO3)2 → Al+3(NO–3)3 + Zn
= Al + 1Zn(NO3)2 → Al+3(NO–3)3 + 1Zn
=หรือ 2Al + 3Zn(NO3)2 → 2Al+3(NO–3)3 + 3Zn
D. สังกะสี + คอปเปอร์ (II) ซัลเฟต
= Zn + CuSO4 →
= Zn + CuSO4 → = ZnSO4 + Cu
E. โซเดียม + กรดซัลฟิวริก
= Na + H2SO4 →
= Na + H2SO4 → Na2SO4 + H2
= 2Na + H2SO4 → 1Na2SO4 + H2
F. สังกะสี + คอปเปอร์ (II) ไนเตรด
= Zn + Cu(NO3)2 →
= Zn + Cu(NO3)2 → Zn(NO3)2 + Cu
สมการสลายตัวอย่างง่าย
เป็นลักษณะการเผา
A. เผาแคลเซียมคาร์บอเนต
B. เผาแมกนีเซียมคาร์บอเนต
C. เผาแคลเซียมไฮโดรเจนคาร์บอเนต
D. เผาโพแทสเซียมคลอเรต
ตัวอย่าง
CO2-3 → CO2
HCO–3 → CO2 + H2O
ClO3 → ClO2 + O2
แบบฝึดหัด
A. เผาแคลเซียมคาร์บอเนต
= CaCO3 → CaO + CO2
B. เผาแมกนีเซียมคาร์บอเนต
= MgCO3 → MgO + CO2
C. เผาแคลเซียมไฮโดรเจนคาร์บอเนต
= Ca(HCO–3)2 → CaO + CO2 + H2O
ดุลสมการ = 1Ca(HCO–3)2 → 1CaO + 2CO2 + H2O
D. เผาโพแทสเซียมคลอเรต
= KClO3 → KCl + O2
ดุลสมการ = 1KClO3 → 1KCl + O2 ,หรือ 2KClO3 → 2KCl + 3O2
สมการ การสันดาป
ในสารประกอบไฮโดรคาร์บอน
• กรณีที่เผาไหม้สมบูรณ์
• กรณีที่เผาไหม้ไม่สมบูรณ์
หลักการ
1. ดุล คาร์บอน (C) ก่อน
2. ดุล ไฮโดรเจน (H)
3. สุดท้ายดุลอะตอมของ ออกซิเจน (O)
โจทย์แบบฝึกหัด
• กรณีที่เผาไหม้สมบูรณ์
C4H10 + O2 → CO2 + H2O
• กรณีที่เผาไหม้ไม่สมบูรณ์
C4H10 + O2 → CO + H2O
ดุลสมการ
• กรณีที่เผาไหม้สมบูรณ์
1C4H10 + O2 → 4CO2 + 5H2O
จะได้สมการ 2C4H10 + 13O2 → 8CO2 + 10H2O
• กรณีที่เผาไหม้ไม่สมบูรณ์
1C4H10 + O2 → 4CO + 5H2O
จะได้สมการ 2C4H10 + 9O2 → 8CO2 + 10H2O
• กรณีที่เผาไหม้สมบูรณ์
C6H12 + O2 → CO2 + H2O
• กรณีที่เผาไหม้ไม่สมบูรณ์
C6H12 + O2 → CO + H2O
ดุลสมการ
• กรณีที่เผาไหม้สมบูรณ์
1C6H12 + 9O2 → 6CO2 + 6H2O
• กรณีที่เผาไหม้ไม่สมบูรณ์
1C6H12 + 6O2 → 6CO + 6H2O
จะเห็นว่า กรณีที่เผาไหม้สมบูรณ์ จะใช้ออกซิเจนเยอะกว่า กรณีที่เผาไหม้ไม่สมบูรณ์ เสมอ
สอนโดย : ครูเปา Paul’s Academy – เคมีครูเปา
เอกสารประการเรียน ชุดที่ 1
เอกสารประการเรียน ชุดที่ 2
เอกสารประการเรียน ชุดที่ 3